- รับลิงก์
- X
- อีเมล
- แอปอื่นๆ
มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลผู้สูงอายุ
1. ความหมายและประเภทของผู้สูงอายุ
- ผู้สูงอายุ คำที่ใช้เรียกบุคคลว่า คนชราหรือผู้สูงอายุนั้น โดยทั่วไปเป็นคำที่ใช้เรียกบุคคลที่มีอายุมาก ผมขาว หน้าตาเหี่ยวย่น การเคลื่อนไหวเชื่องช้า นักวิชาการหลายๆท่าได้ในคำนิยามไว้จำนวนมาก... อ่านต่อ Click
- ประเภทของผู้สูงอายุ องค์การอนามัยโลก โดย อัลเฟรด เจ คาห์น (Professor Dr. Alfred J. Kahn) แห่งมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย มีการแบ่งเกณฑ์ผู้สูงอายุไว้ 3 ประเภท... อ่านต่อ Click
- ผู้สูงอายุ คำที่ใช้เรียกบุคคลว่า คนชราหรือผู้สูงอายุนั้น โดยทั่วไปเป็นคำที่ใช้เรียกบุคคลที่มีอายุมาก ผมขาว หน้าตาเหี่ยวย่น การเคลื่อนไหวเชื่องช้า นักวิชาการหลายๆท่าได้ในคำนิยามไว้จำนวนมาก... อ่านต่อ Click
- ประเภทของผู้สูงอายุ องค์การอนามัยโลก โดย อัลเฟรด เจ คาห์น (Professor Dr. Alfred J. Kahn) แห่งมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย มีการแบ่งเกณฑ์ผู้สูงอายุไว้ 3 ประเภท... อ่านต่อ Click
2. ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร
- การเปลี่ยนแปลงในขนาดและสัดส่วนของ “ผู้สูงอายุ” ประเทศไทยกำลังเผชิญหน้ากับภาวการณ์เพิ่มขึ้น อย่างรวดเร็ว ของประชากรสูงอายุ (อายุ 60 ปีและมากกว่า) การประมาณการเพิ่มขึ้นของประชากรผู้สูงอายุ โดยองค์การสหประชาชาติระหว่างปี พ.ศ. 2533 ถึง พ.ศ. 2593... อ่านต่อ Click
- ผลกระทบของสังคมผู้สูงอายุ ที่สำคัญประการแรก คือ ประชากรวัยทำงาน หรือ กำลังแรงงานจะลดลง ซึ่งจะส่งผลกับ ภาคการผลิต หรือการให้บริการของสังคม ประการที่สอง คนวัยแรงงาน จะต้องรับภาระเพิ่มขึ้นในการดูแลผู้สูงอายุ การให้บริการทางสังคม ซึ่งรวมถึงการจัดระบบการคุ้มครองทางสังคมอาจไม่เพียงพอ โดยเฉพาะบริการทางการแพทย์ เนื่องจากโรคที่เกี่ยวกับผู้สูงอายุ และเรื้อรัง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น และประการสุดท้ายค่าใช้จ่ายในการจัดบริการสาธารณสุข และการจ่ายผลตอบแทน เพื่อการเกษียณอายุที่จะเพิ่มขึ้น... อ่านต่อ Click
- การเปลี่ยนแปลงในขนาดและสัดส่วนของ “ผู้สูงอายุ” ประเทศไทยกำลังเผชิญหน้ากับภาวการณ์เพิ่มขึ้น อย่างรวดเร็ว ของประชากรสูงอายุ (อายุ 60 ปีและมากกว่า) การประมาณการเพิ่มขึ้นของประชากรผู้สูงอายุ โดยองค์การสหประชาชาติระหว่างปี พ.ศ. 2533 ถึง พ.ศ. 2593... อ่านต่อ Click
- ผลกระทบของสังคมผู้สูงอายุ ที่สำคัญประการแรก คือ ประชากรวัยทำงาน หรือ กำลังแรงงานจะลดลง ซึ่งจะส่งผลกับ ภาคการผลิต หรือการให้บริการของสังคม ประการที่สอง คนวัยแรงงาน จะต้องรับภาระเพิ่มขึ้นในการดูแลผู้สูงอายุ การให้บริการทางสังคม ซึ่งรวมถึงการจัดระบบการคุ้มครองทางสังคมอาจไม่เพียงพอ โดยเฉพาะบริการทางการแพทย์ เนื่องจากโรคที่เกี่ยวกับผู้สูงอายุ และเรื้อรัง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น และประการสุดท้ายค่าใช้จ่ายในการจัดบริการสาธารณสุข และการจ่ายผลตอบแทน เพื่อการเกษียณอายุที่จะเพิ่มขึ้น... อ่านต่อ Click
3. บทบาทพยาบาล ผู้ดูแล ครอบครัว สังคมต่อการดูแลผู้สูงอายุ
การพัฒนารูปแบบการดูแลผู้สูงอายุในปัจจุบัน มุ่ง เน้นเพื่อให้เกิดการตอบสนองทางด้านคลินิก ครอบคลุมด้านจิตสังคม เศรษฐกิจ ซึ่งทีมการดูแลจะมีการวางแผนล่วงหน้าตั้งแต่รับผู้ป่วยในโรงพยาบาล ประเมินปรับเปลี่ยนแผนการดูแล จนกระทั่งจำหน่ายกลับบ้าน โดยมีเป้าหมายเพื่อลดความเสื่อมถอยของการทำหน้าที่ การส่งเสริมการทำหน้าที่ของร่างกาย การประเมินวางแผนดังกล่าว จึงควรนำผู้ป่วยและครอบครัวเข้ามามีส่วนร่วมเพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ตรงตาม ความต้องการและปัญหาของผู้สูงอายุได้อย่างมีประสิทธิภาพ... อ่านต่อ Click
การพัฒนารูปแบบการดูแลผู้สูงอายุในปัจจุบัน มุ่ง เน้นเพื่อให้เกิดการตอบสนองทางด้านคลินิก ครอบคลุมด้านจิตสังคม เศรษฐกิจ ซึ่งทีมการดูแลจะมีการวางแผนล่วงหน้าตั้งแต่รับผู้ป่วยในโรงพยาบาล ประเมินปรับเปลี่ยนแผนการดูแล จนกระทั่งจำหน่ายกลับบ้าน โดยมีเป้าหมายเพื่อลดความเสื่อมถอยของการทำหน้าที่ การส่งเสริมการทำหน้าที่ของร่างกาย การประเมินวางแผนดังกล่าว จึงควรนำผู้ป่วยและครอบครัวเข้ามามีส่วนร่วมเพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ตรงตาม ความต้องการและปัญหาของผู้สูงอายุได้อย่างมีประสิทธิภาพ... อ่านต่อ Click
4. นโยบาย กฎหมายที่เกี่ยวข้องและแผนพัฒนาผู้สูงอายุแห่งชาติ
- พระราชบัญญัติผู้สูงอายุแห่งชาติ พ.ศ.2546 จากบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2540 มาตรา 54 และมาตรา 80 วรรคสอง ส่งผลให้เกิดการผลักดันพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 เพื่อใช้เป็นกฎหมายที่จะเอื้อให้เกิดโครงสร้าง องค์กร และระบบบริหารจัดการที่จะรองรับการดำเนินงานที่เกี่ยวกับผู้สูงอายุของประเทศ ซึ่งพระราชบัญญัติดังกล่าวมีสาระสำคัญโดยสรุป คือ มีการกำหนดให้มีคณะทำงาน ที่รับผิดชอบในการจัดสวัสดิการแก่ผู้สูงอายุทั้งในเชิงนโยบาย แผนงาน และเสนอความเห็นในการออกกฎหมาย มีการจัดตั้งกองทุนเพื่อผู้สูงอายุและกำหนดสิทธิและประโยชน์ที่ผู้สูงอายุพึงจะได้รับการคุ้มครอง... อ่านต่อ Click
- พระราชบัญญัติผู้สูงอายุแห่งชาติ พ.ศ.2546 (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2553 ได้มีการแก้ไขส่วนของการจัดสวัสดิการให้กับผู้สูงอายุมากขึ้น ในมาตราที่ 9 มาตราที่ 11 และมาตราที่ 20... อ่านต่อ Click
- บทบัญญัติคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย กำหนดขึ้นเพื่อคุ้มครอง ส่งเสริมและสนับสนุนต่อสิทธิและประโยชน์ของผู้สูงอายุ... อ่านต่อ Click
- แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2545 - 2564) กำหนดขึ้นเพื่อให้มีกรอบและแนวทางปฏิบัติสำหรับส่วนต่าง ๆ ในสังคมทั้งภาคประชาชน ชุมชน องค์กรภาครัฐและเอกชน ที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับผู้สูงอายุได้ปฏิบัติงานอย่างประสานและสอดคล้องกัน จัดแบ่งเป็น 5 ยุทธศาสตร์... อ่านต่อ Click
- ปฏิญญาผู้สูงอายุไทย ประกาศใช้เมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ.2542 เป็นวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเจริญพระชนมายุครบ 72 พรรษา ประกอบกับองค์การสหประชาชาติได้ประกาศให้เป็นปีสากลว่าด้วยผู้สูงอายุ รัฐบาล องค์กรเอกชน ประชาชน และสถาบันต่างๆ ได้ตระหนักถึงศักดิ์ศรีและคุณค่าของผู้สูงอายุ ซึ่งได้ทำประโยชน์ในฐานะ "ผู้ให้" แก่สังคมมาโดยตลอด ดังนั้นจึงควรได้รับผลในฐานะเป็น "ผู้รับ" จากสังคมด้วย... อ่านต่อ Click
- สิทธิของผู้สูงอายุตามหลักการขององค์การสหประชาชาติ สมัชชาใหญ่แห่งองค์การสหประชาชาติได้มีมติรับรองปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (Universal of Human Rights) เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1948 (พ.ศ. 2491) โดยเรียกร้องให้ประเทศสมาชิกปฏิบัติตามข้อบัญญัติอันเป็น สิทธิขั้นพื้นฐานของความเป็นมนุษย์ที่เคารพในเกียรติยศและศักดิ์ศรี ความมีเสรีภาพ ความยุติธรรม โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของสถานการณ์ทางการเมืองของแต่ละประเทศ ซึ่งในบทบัญญัติของปฏิญญาดังกล่าวได้มีบทบัญญัติที่กล่าวถึงสิทธิของผู้สูงอายุไว้ในมาตรา 25 (1)... อ่านต่อ Click
- สิทธิผู้สูงอายุตาม พ.ร.บ.ผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 และที่แก้ไข พ.ศ. 2553 (ม.11)... อ่านต่อ Click
- พระราชบัญญัติผู้สูงอายุแห่งชาติ พ.ศ.2546 จากบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2540 มาตรา 54 และมาตรา 80 วรรคสอง ส่งผลให้เกิดการผลักดันพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 เพื่อใช้เป็นกฎหมายที่จะเอื้อให้เกิดโครงสร้าง องค์กร และระบบบริหารจัดการที่จะรองรับการดำเนินงานที่เกี่ยวกับผู้สูงอายุของประเทศ ซึ่งพระราชบัญญัติดังกล่าวมีสาระสำคัญโดยสรุป คือ มีการกำหนดให้มีคณะทำงาน ที่รับผิดชอบในการจัดสวัสดิการแก่ผู้สูงอายุทั้งในเชิงนโยบาย แผนงาน และเสนอความเห็นในการออกกฎหมาย มีการจัดตั้งกองทุนเพื่อผู้สูงอายุและกำหนดสิทธิและประโยชน์ที่ผู้สูงอายุพึงจะได้รับการคุ้มครอง... อ่านต่อ Click
- พระราชบัญญัติผู้สูงอายุแห่งชาติ พ.ศ.2546 (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2553 ได้มีการแก้ไขส่วนของการจัดสวัสดิการให้กับผู้สูงอายุมากขึ้น ในมาตราที่ 9 มาตราที่ 11 และมาตราที่ 20... อ่านต่อ Click
- บทบัญญัติคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย กำหนดขึ้นเพื่อคุ้มครอง ส่งเสริมและสนับสนุนต่อสิทธิและประโยชน์ของผู้สูงอายุ... อ่านต่อ Click
- แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2545 - 2564) กำหนดขึ้นเพื่อให้มีกรอบและแนวทางปฏิบัติสำหรับส่วนต่าง ๆ ในสังคมทั้งภาคประชาชน ชุมชน องค์กรภาครัฐและเอกชน ที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับผู้สูงอายุได้ปฏิบัติงานอย่างประสานและสอดคล้องกัน จัดแบ่งเป็น 5 ยุทธศาสตร์... อ่านต่อ Click
- ปฏิญญาผู้สูงอายุไทย ประกาศใช้เมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ.2542 เป็นวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเจริญพระชนมายุครบ 72 พรรษา ประกอบกับองค์การสหประชาชาติได้ประกาศให้เป็นปีสากลว่าด้วยผู้สูงอายุ รัฐบาล องค์กรเอกชน ประชาชน และสถาบันต่างๆ ได้ตระหนักถึงศักดิ์ศรีและคุณค่าของผู้สูงอายุ ซึ่งได้ทำประโยชน์ในฐานะ "ผู้ให้" แก่สังคมมาโดยตลอด ดังนั้นจึงควรได้รับผลในฐานะเป็น "ผู้รับ" จากสังคมด้วย... อ่านต่อ Click
- สิทธิของผู้สูงอายุตามหลักการขององค์การสหประชาชาติ สมัชชาใหญ่แห่งองค์การสหประชาชาติได้มีมติรับรองปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (Universal of Human Rights) เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1948 (พ.ศ. 2491) โดยเรียกร้องให้ประเทศสมาชิกปฏิบัติตามข้อบัญญัติอันเป็น สิทธิขั้นพื้นฐานของความเป็นมนุษย์ที่เคารพในเกียรติยศและศักดิ์ศรี ความมีเสรีภาพ ความยุติธรรม โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของสถานการณ์ทางการเมืองของแต่ละประเทศ ซึ่งในบทบัญญัติของปฏิญญาดังกล่าวได้มีบทบัญญัติที่กล่าวถึงสิทธิของผู้สูงอายุไว้ในมาตรา 25 (1)... อ่านต่อ Click
- สิทธิผู้สูงอายุตาม พ.ร.บ.ผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 และที่แก้ไข พ.ศ. 2553 (ม.11)... อ่านต่อ Click
5. ระบบบริการสุขภาพและสังคม สำหรับผู้สูงอายุ
- การบริการและสวัสดิการที่ประชากรสูงอายุปรารถนา จากการสำรวจถึงความต้องการในการบริการ และสวัสดิการต่างๆ ของประชากรสูงอายุไทย พบว่ามีความต้องการการรักษาพยาบาล โดยไม่คิดมูลค่า หน่วยบริการเยี่ยมบ้าน ลดหย่อนค่าโดยสารเดินทาง และสวัสดิการด้านการเงิน... อ่านต่อ Click
- 2554 ปีแห่งการสร้างระบบการดูแลผู้สูงอายุไทย จากโครงสร้างของประชากรที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ผู้สูงอายุมีจำนวนมากขึ้น การสร้างระบบความคุ้มครองทางเศรษฐกิจและสังคม จึงเป็นประเด็นที่ควรให้ความสำคัญ... อ่านต่อ Click
- การจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุ เป็นการตอบสนองนโยบายของภาครัฐในการจัดตั้งศูนย์ส่งเสริมสุขภาพขึ้น เพื่อตรววจ รักษา ส่งเสริม และฟื้นฟูสุขภาพให้กับผู้สูงอายุ... อ่านต่อ Click
- เตรียมพร้อมสู่สังคมผู้สูงอายุ การดูแลและการพัฒนาสุขภาพผู้สูงอายุไทยประชากร ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปมีการเตรียมความพร้อม และมีการตรวจสุขภาพเมื่อถึงวัยผู้สูงอายุ ได้รับการคัดกรองเพื่อการรักษาที่สถานบริการสาธารณสุข ตามขั้นตอน และมีหน่วยงานในกระทรวงสาธารณสุข ที่รับผิดชอบในเรื่องของผู้สูงอายุ... อ่านต่อ Click
- การบริการและสวัสดิการที่ประชากรสูงอายุปรารถนา จากการสำรวจถึงความต้องการในการบริการ และสวัสดิการต่างๆ ของประชากรสูงอายุไทย พบว่ามีความต้องการการรักษาพยาบาล โดยไม่คิดมูลค่า หน่วยบริการเยี่ยมบ้าน ลดหย่อนค่าโดยสารเดินทาง และสวัสดิการด้านการเงิน... อ่านต่อ Click
- 2554 ปีแห่งการสร้างระบบการดูแลผู้สูงอายุไทย จากโครงสร้างของประชากรที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ผู้สูงอายุมีจำนวนมากขึ้น การสร้างระบบความคุ้มครองทางเศรษฐกิจและสังคม จึงเป็นประเด็นที่ควรให้ความสำคัญ... อ่านต่อ Click
- การจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุ เป็นการตอบสนองนโยบายของภาครัฐในการจัดตั้งศูนย์ส่งเสริมสุขภาพขึ้น เพื่อตรววจ รักษา ส่งเสริม และฟื้นฟูสุขภาพให้กับผู้สูงอายุ... อ่านต่อ Click
- เตรียมพร้อมสู่สังคมผู้สูงอายุ การดูแลและการพัฒนาสุขภาพผู้สูงอายุไทยประชากร ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปมีการเตรียมความพร้อม และมีการตรวจสุขภาพเมื่อถึงวัยผู้สูงอายุ ได้รับการคัดกรองเพื่อการรักษาที่สถานบริการสาธารณสุข ตามขั้นตอน และมีหน่วยงานในกระทรวงสาธารณสุข ที่รับผิดชอบในเรื่องของผู้สูงอายุ... อ่านต่อ Click
แนวคิดการพยาบาลผู้สูงอายุ (Active aging)
- Duvall (1971) ได้อธิบายแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับพัฒนาการของครอบครัว ในรูปแบบวงจรชีวิตขอบครอบครัว (Family life cycle) มีทั้งหมดมี 8 ระยะ (stages) ระยะตั้งแต่การมีครอบครัว ในครอบครัวมีสมาชิกใหม่คือบุตร ครอบครัวมีบุตรอยู่ในวัยก่อนเรียน ครอบครัวมีบุตรอยู่ในวัยเรียน ครอบครัวมีบุตรอยู่ในวัยรุ่น ครอบครัวที่มีบุตรอยู่ในวัยที่กำลังเข้าสู่วัยผู้ใหญ่มีความพร้อมที่จะไปใช้ชีวิตได้ตามลำพัง ครอบครัวที่อยู่ในวัยผู้ใหญ่หรือวัยกลางคน และครอบครัวในวัยผู้สูงอายุซึ่งเป็นส่วนสุดท้ายของวงจรชีวิต เป็นระยะของวัยเกษียณ... อ่านต่อ Click
- Active Aging คำนี้ใช้มาตั้งแต่ปี 1990 โดย WHO คำว่า Active Aging จะเกี่ยวข้องกับคำว่า Healthy Aging ซึ่งหมายถึง การเป็น ผู้สูงอายุที่ปราศจากโรค และรวมถึงการมีความสามารถในการใช้ร่างกาย สรีรวิทยา จิตใจ และสังคม ซึ่งได้เปลี่ยนแปลงไปตามกระบวนการชราที่เกิดขึ้น ให้ทำงานได้อย่างเหมาะสม... อ่านต่อ Click
- Active aging หรือเรียกในภาษาไทยว่า พฤฒพลัง หมายถึงผู้สูงอายุที่มีศักยภาพในการดำรงชีวิตตามปกติ สามารถสร้างประโยชน์ในกับชุมชนและสังคม หรือเรียกภาษาชาวบ้านว่า แก่..แต่ยังมีไฟ นั่นเอง... อ่านต่อ Click
- Duvall (1971) ได้อธิบายแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับพัฒนาการของครอบครัว ในรูปแบบวงจรชีวิตขอบครอบครัว (Family life cycle) มีทั้งหมดมี 8 ระยะ (stages) ระยะตั้งแต่การมีครอบครัว ในครอบครัวมีสมาชิกใหม่คือบุตร ครอบครัวมีบุตรอยู่ในวัยก่อนเรียน ครอบครัวมีบุตรอยู่ในวัยเรียน ครอบครัวมีบุตรอยู่ในวัยรุ่น ครอบครัวที่มีบุตรอยู่ในวัยที่กำลังเข้าสู่วัยผู้ใหญ่มีความพร้อมที่จะไปใช้ชีวิตได้ตามลำพัง ครอบครัวที่อยู่ในวัยผู้ใหญ่หรือวัยกลางคน และครอบครัวในวัยผู้สูงอายุซึ่งเป็นส่วนสุดท้ายของวงจรชีวิต เป็นระยะของวัยเกษียณ... อ่านต่อ Click
- Active Aging คำนี้ใช้มาตั้งแต่ปี 1990 โดย WHO คำว่า Active Aging จะเกี่ยวข้องกับคำว่า Healthy Aging ซึ่งหมายถึง การเป็น ผู้สูงอายุที่ปราศจากโรค และรวมถึงการมีความสามารถในการใช้ร่างกาย สรีรวิทยา จิตใจ และสังคม ซึ่งได้เปลี่ยนแปลงไปตามกระบวนการชราที่เกิดขึ้น ให้ทำงานได้อย่างเหมาะสม... อ่านต่อ Click
- Active aging หรือเรียกในภาษาไทยว่า พฤฒพลัง หมายถึงผู้สูงอายุที่มีศักยภาพในการดำรงชีวิตตามปกติ สามารถสร้างประโยชน์ในกับชุมชนและสังคม หรือเรียกภาษาชาวบ้านว่า แก่..แต่ยังมีไฟ นั่นเอง... อ่านต่อ Click
การดูแลผู้สูงอายุระยะสุดท้าย
- การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายต้องสนใจปัญหาต่างๆของผู้ป่วยทั้งทางกาย ทางจิตใจ และปัญหาทางสังคมและเศรษฐกิจ เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยสามารถปรับตัวกับการเจ็บป่วย และใช้ชีวิตที่เหลืออยู่ได้อย่างมีคุณภาพที่สุด... อ่านต่อ Click
- ทางเลือกสุดท้ายของการจากไปอย่างสงบ อะไรคือสิ่งสุดท้ายที่อยากเห็น อะไรคือสิ่งสุดท้ายที่อยากได้ยิน ความปรารถนาสุดท้ายแห่งชีวิต... อ่านต่อ Click
- การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายต้องสนใจปัญหาต่างๆของผู้ป่วยทั้งทางกาย ทางจิตใจ และปัญหาทางสังคมและเศรษฐกิจ เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยสามารถปรับตัวกับการเจ็บป่วย และใช้ชีวิตที่เหลืออยู่ได้อย่างมีคุณภาพที่สุด... อ่านต่อ Click
- ทางเลือกสุดท้ายของการจากไปอย่างสงบ อะไรคือสิ่งสุดท้ายที่อยากเห็น อะไรคือสิ่งสุดท้ายที่อยากได้ยิน ความปรารถนาสุดท้ายแห่งชีวิต... อ่านต่อ Click
- รับลิงก์
- X
- อีเมล
- แอปอื่นๆ
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น