จังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางตอนบนของประเทศไทย[3] มีพื้นที่ประมาณ 12,668 ตารางกิโลเมตร ซึ่งมีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 9 ของประเทศ มีประชากร 994,397 คน[2] แบ่งการปกครองออกเป็น 11 อำเภอ




























บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
โดย ดร. สมัย เหมมั่น กรรมการบริหาร

      โครงการคอนโดมิเนียมและซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์ สหกรณ์ออมทรัพย์ ข้าราชการและครู ต.แค้มสน อ.เขาค้อ จ.เพชรบูรณ์

         โครงการเพื่อ ข้าราชการบำนาญและสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ ข้าราชการและครูและ กองทุน กบข. ประชาชนที่มีรายได้น้อยในประเทศ
      
คำอธิบาย: https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEiwBrl2ED3KJKFCCrD_a2R2483_KCs-HbZkZC4pRlsSt56U-eTPVXxY0_p195shrWVkutFa2PCYzAuaALwyUvtDJSH1-BnBg3RreVsI_wu0NDfIIWjPvbhjWxu7qT8kmdoRtJx0ELsBsPs1/s640/therapy.png




        โครงการคอนโดมิเนียมและซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์ สหกรณ์ออมทรัพย์ ข้าราชการแลพครู เขาค้อ การเลือกซื้อของผู้บริโภค ได้วิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ ให้ข้อคิด เลือกซื้อ บริการดูแลผู้สูงอายุ  และวิธีการเลือกซื้อบ้านแบบ คอนโด ที่แบบสวยงาม มีให้เลือกหลายแบบ ที่น่าสนใจ บ้านพักตากอากาศ  ที่ศึกษาวิเคราะห์มา ด้วยสังคมและหน้าที่การงาน ทำให้คนไทยต้องใช้ชีวิตในสังคมเมือง เมืองกรุง กันมากขึ้น และด้วยโครงการขนาดใหญ่สำคัญ ๆ ที่กำลังจะเกิดขึ้นใน
                                                                       เฟส 1
จังหวัด พิษณุโลกและเพชรบูรณ์   ได้แก่ ขยายถนนวงแหวนแนวใหม่ ผ่านหน้าโครงการและทำให้โครงการเดินทางสะดวกมากขึ้นและ รัฐบาลอนุมัติ โครงการรถไฟฟ้าจ.พิษณุโลก ใหม่ล่าสุด ซึ่งรัฐบาลอนุมัติให้ดำเนินโครงการแล้ว คาดว่าจะเริ่มดำเนินการในเฟสแรกปี 256ซึ่งโครงการนี้      
เป็นระบบรถไฟความเร็วสูงระหว่าง พิษณุโลก -กรุงเทพฯ ระยะทาง 400 กิโลเมตรและ กรุงเทพ-เชียงใหม่ ใช้เวลาเดินทาง ไม่นานไม่กี่ ชั่วโมง รองรับผู้โดยสารได้วันละ 34,800 คนต่อ มีศักยภาพในการพัฒนาด้านเศรษฐกิจเพิ่มมากขึ้น ส่งเสริมการท่องเที่ยวในประเทศหาบ้านให้มีความสุข คุ้มค่าต่อการลงทุน ต้อนรับการท่องเที่ยวระดับ อาเซียน AEC การตัดสินใจใช้รับบริการ ให้ดูแลผู้ป่วยหรือ พ่อและแม่ หรือผู้อนุบาลต่างๆนั้นจักต้องใช้ความละเอียดอ่อนในการตัดสินใจ ผู้บริโภคจึงต้องร่วมกันตัดสินใจหลายคน จึงต้องใช้พฤติกรรมหมู่ ร่วม ในการตัดสินใจโครงการคอนโดมิเนียมและซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์ สหกรณ์ออมทรัพย์ครู เขาค้อ โครงการบ้านพักคนชรา มีกลยุทธ์ที่ดีในการให้บริการและมีประสบการณ์ ในการประกอบอาชีพ ดูและผู้สูงอายุในนาม บ้านทองทิพย์ และร่วมบริหาร โครงการคอนโดมิเนียมและซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์ สหกรณ์ออมทรัพย์ ข้าราชการและครู เขาค้อ โครงการบ้านพักตากอากาศและบ้านพักคนชรา นี้ด้วย ประกอบกับชื่อเสียงของ บ้านทองทิพย์ มีชื่อเสียง ที่ดีจึงมีลูกค้า มากถึง 300 ชีวิตที่ฝากชีวิตไว้กับ บ้านทองทิพย์  ให้ดูแลผู้สองอายุหรือผู้อนุบาล ของตน และบอกต่อแนะนำลูกค้า ตลอด ทำให้ผมเขาใจว่า ประเทศไทย เป็นจุดที่น่าอยู่อาศัยมากที่สุดในโลก ทั้งสังคมและวัฒนธรรม อาหารการกิน การอยู่อาศัยที่เรียบง่าย เป็นที่น่าสนใจของคนต่างประเทศเป็นทางเลือกของชนชาติอื่น ทั้งกลุ่มยุโรปและรัสเซียและตะวันออกกลาง เป็นอย่างยิ่ง  อันนี้ น่าสนใจในการลงทุนอสังหาริมทรัพย์

            ทั้งนี้ยังมีโครงการนี้สภาพัฒน์ได้เคยศึกษาความเป็นไปได้แล้วว่ามีความเหมาะสมที่จะพัฒนา        โครงการถนนส่งเสริมการท่องเที่ยวชมวิล เขาค้อ  สร้างใหม่ การจราจรเป็น 4 ช่องจราจร นอกจากนี้ ก็มีแผนทำถนนวงแหวนรอบ ๆรวมถึงการพัฒนาระบบขนตามที่คณะรัฐมนตรีมีมติให้ดำเนินการแล้วทำให้ผู้สูงอายุในการรับผิดชอบของเรามีที่เที่ยวเชิงอนุรักษ์ที่ใกล้
คำอธิบาย: https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEiCX_bVl81NLxQ10ibLxVVB4DAG6t1iHQ2hmS0G53y2TC8qnuWY6xzs6u76Ji-bScWmeMqgi0k_I-_3QTPL7ZmWulkWb_Bt3grXv2MYY-A564wOEnxsIqw966fGNG08zvHxM7G8RjkGbG97/s640/erthnh5y4752.jpg
            เมื่อนโยบายรัฐบาลสนับสนุนให้เป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวและการค้าเชื่อมกับประเทศเพื่อนบ้านทางบก-ทะเล  ซึ่งในระยะ 5 - 10 ปี จำเป็นต้องขยายเมืองใหม่ จ.สมุทรสาคร เพื่อรองรับการเติบโตและความแออัดของเมือง กรุงเทพฯในปัจจุบัน โดย กรมโยธาธิการและผังเมืองจะกำหนดตำแหน่งของถนนแห่งใหม่เพื่อรองรับความเป็นศูนย์กลางการเดินทางได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ สนับสนุนการท่องเที่ยวและอุตสาหกรรมด้วย ซึ่งถนนแห่งใหม่น่าจะเกิดขึ้นหลังจาก 10 ปีนับจากนี้ ส่วนพื้นที่ที่มีความเหมาะสมและมีความเป็นไปได้น่าจะอยู่ในพื้นที่ จะมีถนนวงแหวนรอบนอกเชื่อมโยงอีก 1 เส้น    โดยหลักการคือผู้ที่เดินทาง ไม่จำเป็นจะต้องเข้าเมือง ที่จะโต ซึ่ง โครงการคอนโดมิเนียมและซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์ สหกรณ์ออมทรัพย์ ข้าราชการและครู เขาค้อ มีตำแหน่งอยู่ทิศตะวันตก ของเมือง หล่มสัก เป็นพื้นที่ที่มีความเหมาะสมมากที่สุด และโครงการสร้างเมืองใหม่ก็เคยมีการศึกษาไว้เมื่อก่อนหลาย ปีที่ผ่านมาตามโครงการพัฒนาเมือง ที่ต้องขยายเมืองมาในเขต.ต่างๆ
            ประเด็นที่สองคือประเทศไทยเป็นประเทศที่เหมาะแก่การอยู่อาศัยของชาวต่างชาติหลังเกษียณอายุมากที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศต่างๆทั่วโลกด้วยการพิจารณาจากเงื่อนไขด้านเศรษฐกิจ และรูปแบบการดำเนินชีวิต โดยจากการสำรวจพบว่า 3 เหตุผลที่ทำให้ประเทศไทยเหมาะแก่การเป็นที่อยู่อาศัยของชาวต่างชาติหลังเกษียณอายุมากที่สุด มีดังนี้การตัดสินใจใช้รับบริการ ให้ดูแลผู้ป่วยหรือ พ่อและแม่ หรือผู้อนุบาลต่างๆนั้นจักต้องใช้ความละเอียดอ่อนในการตัดสินใจ ผู้บริโภคจึงต้องร่วมกันตัดสินใจหลายคน จึงต้องใช้พฤติกรรมหมู่ ร่วม ในการตัดสินใจสร้าง โครงการคอนโดมิเนียมและซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์ สหกรณ์ออมทรัพย์ครู เขาค้อ มีกลยุทธ์ที่ดีในการให้บริการและมีประสบการณ์ประกอบอาชีพ ดูและผู้สูงอายุในนาม บ้านทองทิพย์ และร่วมบริหารโครงการ
บ้านพักตากอากาศและบ้านพักคนชรา โครงการคอนโดมิเนียมและซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์ สหกรณ์ออมทรัพย์ครู เขาค้อนี้ด้วย ประกอบกับชื่อเสียงของ บ้านทองทิพย์ มีชื่อเสียง ที่ดีจึงมีลูกค้า มากถึง 300 ชีวิตที่ ตัดสินใจใช้กลยุทธ์นี้ตัดสินใจทำ โครงการบ้านพักตากอากาศและบ้านพักคนชรา โครงการคอนโดมิเนียมและซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์ สหกรณ์ออมทรัพย์ครู เขาค้อ ให้สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศและ AEC
คำอธิบาย: https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEjfutQRwhZHDgJiTn3xAVLovuJAYyNgryMrohsFqi5m5xVYr22Yl8YsxxjdM2k4B2ITeThp22idVIl9vTe4-ztKjST3jSRhYKYo6xm812mHxzqYoRN4wp3vaH7Vsa06VDwKTt3WO1i4jYB1/s640/IMG_7302%25281%2529.jpg

1. รัฐบาลไทยยกเว้นภาษีสำหรับชาวต่างชาติที่มีรายได้จัด หรือแม้กระทั่งผู้ที่ไม่มีรายได้ประจำ ด้วยเหตุผลดังกล่าวนี้จึงเหมะแก่ชาวต่างชาติผู้เกษียณอายุแล้วเป็นอย่างมาก
2.ค่าครองชีพที่ถือว่าต่ำมากเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆในโลก ชาวตะวันตกโดยเฉพาะคนอังกฤษจึงสามารถมาใช้ชีวิตอยู่ที่นี่ได้โดยไม่มีปัญหาแน่นอน
3. วิถีชีวิตที่เรียบง่าย เหมาะสมซึ่งทำให้ประเทศไทยเหมาะมากสำหรับผู้ที่เกษียณอายุและต้องการความสงบในชีวิต ตลอดจนปัจจัยเรื่องสภาพอากาศที่เอื้ออำนวย เพราะอากาศไม่หนาวมาก และมีแสงแดดตลอดทั้งปี
1.            ประเด็นที่สามคือการเปิดประตูประชาคมอาเซียน(AEC)จะส่งผลกระทบต่อภาพรวมของธุรกิจ อสังหาริมทรัพย์แม้ว่าการเปิด AEC จะส่งผลบวกต่อ ดีมานด์ซื้อ และเช่า อสังหาฯ บ้านทาวน์เฮาส์ บ้านเดี่ยวที่แบบสวยงาม มีให้เลือกหลายแบบ ที่น่าสนใจ บ้านพักตากอากาศ มือสองในย่านศูนย์กลางธุรกิจ และแหล่งชุมชนใจกลางเมืองโดยเฉพาะหัวเมืองใหญ่ทั่วทุกภาค เช่นแหล่งนิคมอุตสาหกรรม เป็นต้น เพราะหลังเปิด AEC แล้วนักลงทุนและแรงงานจากกลุ่มประเทศอาเซียนจะเข้ามาอาศัยในเมืองใหญ่อย่างกรุงเทพฯ  และแหล่งนิคมฯรอบๆ กรุงเทพฯ  มีจำนวนมาก ที่มาเที่ยวและพักผ่อน ในกรุงเทพฯและปริมณฑล มากมาย  เพิ่มขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้ตลาดอาคารสำนักงานและที่อยู่อาศัยประเภทอาคารชุดใจกลางเมืองและใกล้ศูนย์ราชการหัวเมืองต่างๆ มีความคึกคักมากขึ้น
            ผู้ประเมินค่าทรัพย์สินจากประเทศต่างๆ ทั่วอาเซียนต่างเห็นว่าเศรษฐกิจปี2559 ดีกว่า 2 ปีก่อนและจะดีขึ้นอีกในปี 2560ก่อนเปิด AEC ตลาดอสังหาริมทรัพย์ก็เช่นกัน และทุกประเทศเห็นว่าการเปิด AEC จะเป็นประโยชน์ร่วมกันแต่ก็ยังมีความเป็นห่วงต่อการแข่งขันอยู่เช่นกัน
คำอธิบาย: https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEgZPuAYey5EJyOscbwUXsDc1YMj_4Y4vBTYAhK27ZQDdvCtjZiQgU5PUD2sSQs6ki6nVupEXRax00WkCCgmXo1yNkTiSkWGDROWat5N0tHXPkyuFr_LX5GI5zZgt67iMlHqewgVYlPjc96o/s640/maxresdefault+%25281%2529.jpg
ดร.สมัย เหมมั่น ได้สำรวจความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมประชุมสมาคมผู้ประเมินค่าทรัพย์สินแห่งอาเซียน ณ ประเทศบรูไน ในช่วงต้นเดือนกรกฎาคม 2558 จำนวนเกือบ 100 คนจากทั้งหมดเกือบ 200 คนต่อประเด็นความพร้อมในการเปิดประชาคมอาเซียน (ASEAN Economic Community:AEC)ในปี พ.. 2558 และความเห็นเหล่านี้จะเป็นประโยชน์ต่อประเทศไทยพอสมควร
ผู้ประเมินค่าทรัพย์สินในภูมิภาคนี้ ให้ความคิดเห็นว่าเมื่อเทียบสถานการณ์เศรษฐกิจ พ.. 2560 กับปัจจุบัน 56% ประเมินว่าปัจจุบันดีกว่า มีเพียง 7% ที่เห็นว่าแย่ลงที่เหลือ 36% บอกว่าเหมือนเดิม สำหรับในรายละเอียด ผู้ประเมินค่าทรัพย์สิน


          จากบรูไน สิงคโปร์ และไทย มองว่าสถานการณ์เศรษฐกิจยังแทบไม่เปลี่ยนแปลง แต่ประเทศอื่นๆ กลับมองว่าสถานการณ์ดีขึ้นเป็นหลัก และเมื่อพิจารณาถึงภาวะเศรษฐกิจในอีก 2 ปีข้างหน้า คือ พ.. 2561 ส่วนใหญ่ 67% บอกว่าสถานการณ์น่าจะดีขึ้น มีเพียง 4% ที่คิดว่าจะเลวร้ายลง อย่างก็ตามผู้แทนจากประเทศไทยส่วนใหญ่เห็นว่าจะยังคงเหมือนเดิม
            กรณีตลาดอสังหาริมทรัพย์ พบว่า 63% คิดว่าสถานการณ์ตลาดดีขึ้นกว่าปี พ.. 2560 อย่างไรก็ตาม ราวๆ ครึ่งหนึ่งของผู้ประเมินค่าทรัพย์สินจากบรูไนและไทยคิดว่าสถานการณ์ไม่เปลี่ยนแปลงอะไร ทั้งนี้อาจเป็นเพราะสถานการณ์ทางการเมืองในไทย และสถานการณ์ทางเศรษฐกิจของบรูไน ยังไม่กระเตื้องขึ้นนั่นเอง และเมื่อพิจารณาถึงตลาดอสังหาริมทรัพย์ในอีก 2 ปีข้างหน้าคือ 2562 พบว่าส่วนใหญ่ 66% จากแทบทุกประเทศระบุว่า สถานการณ์น่าจะดีกว่าปัจจุบันอย่างไรก็ตามผู้ประเมินทรัพย์สินจากประเทศยังเห็นว่าตลาดยงไม่มีการเปลี่ยนแปลงอะไรมากนัก 2 ปีข้างหน้า

            ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เป้าหายของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว (Single Market and Production Basw)” โดยมีการเคลื่อนสินค้า การลงทุน และแรงงานฝีมือภายในอาเซียนได้อย่างเสรีรวมถึงการเคลื่อนย้ายเงินทุนที่เสรีมากขึ้น ภายในปี 2560 และภายใต้กรอบการเจรจาของเอเซียน แผนงานนาไปสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC Bluepeint )กำหนดพันธรณีให้ประเทศสมาชิกต้องเปิดเสรีการค้าบริการ รวมถึงการบริการด้านอสังหาริมทรัพย์โดยลดหรือยกเลิกกฎระเบียบที่เป็นอุปสรรคในการเข้าสู่ตลาด(Treaket Access: MA)และข้อจำกัดในการให้การปฏิบัติเยี่ยงคนชาติ (National Treatment :NT) หรือการปฏิบัติต่อคนต่างชาติที่สัญชาติอาเซียนเช่นเดียวกับคนในชาติตนเอง นอกจากนั้นแล้วยังเพิ่มสัดส่วนการถือหุ้นให้กับนักลงทนที่มีสัญชาติอาเซียนได้สูงสุดถึง 70% อีกด้วย
            จากข้อกำหนดดังกล่าว ผู้ประกอบการธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ไทย จะต้องมีการปรับตัวและเตรียมความพร้อมรบมือกับนักลงทุนต่างชาติที่มีทั้งเงินทุนและเทคโนโลยีที่จะเข้ามาแข่งขันมากขึ้น เนื่องจากตลาดที่อยู่อาศัยในประเทศไทยยังมีราคาต่ำกว่าประเทศเพื่อบ้านอย่างน้อยเช่น สิงคโปร์ อยู่มากนอกจากนี้ประเทศไทยเองยังตั้งอยู่ในภูมิศาสตร์ที่เป็นศูนย์กลางของภูมิภาค ซึ่งเหมาะต่อการเข้ามาลงทุนหรือประกอบธุรกิจเป็นอย่างยิง และอาจะส่งผลกระทบต่อเสถียรภาพและความมั่นคงของประเทศได้ในระยะยาว ในขณะเดียวกันก็จะเป็นโอกาสให้ผู้ประกอบการไทยสามารถออกไปแข่งขัน หรือขยายธุรกิจในประเทศเพื่อนบ้านที่มีอัตราความต้องการที่อยู่อาศัยสุงกว่า พร้อมทั้งเกิดการแลกเปลี่ยนเทคโนโลยีและองค์ความรู้ใหม่ๆกับนักลงทุนจากประเทศสมาชิกมากขึ้น
            ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ในฐานะที่เป็นธุรกิจการค้าครอบคลุมถึงการพัฒนาออกแบบก่อสร้าง ซื้อขาย แลกเปลี่ยน ให้เช่า ให้สินเชื่อจำนอง ประเมินค่าทรัพย์สินโอนทรัพย์สิน ทำให้ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์เป็นธุรกิจใหญ่ที่มีผู้เกี่ยวข้องหลายฝ่าย ทั้งที่เป็นบุคคลธรรมดา เช่น นักพัฒนา นักลงทุน ตัวแทนนายหน้า
             นักกฎหมายสำรวจ นักกฎหมายนักสำรวจ นักประเมินราคา นักบริหารทรัพย์สินเป็นต้นและที่เป็นนิติบุคคลเช่น การนิคมอุตสาหกรรม สถาบันการเงิน ธนาคาร บริษัทบ้านจัดสรร เป็นต้น ตามแผนงานนาไปสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน กำหนดให้การเคลื่อนย้ายของนักธุรกิจผู้เชี่ยวชาญ  ผู้ประกอบวิชาชีพ แรงงานฝีมือและผู้มีความสามารถพิเศษมีการจัดหา MRAs เพื่ออำนวยความสะดวกในการประกอบวิชาชีพ (แพทย์ทันตแพทย์ พยาบาล สถาปนิก วิศวกร นักบัญชี และนักสำรวจ) อาจส่งผลทำให้เกิดปัญหาขาดแคลนแรงงานวิชาชีพตามมา แต่ในขณะเดียวกันก็จะเป็นโอกาสให้ผู้ประกอบการไทยลดต้นทุนจากจัดหาสถาปนิก หรือวิศวกรเซ็นงานได้เช่นเดียวกัน
            นอกจากนี้ ตามความตกลงการค้าสินค้าของ (Asean Trade in Goods Agreement :ATIGA )ไม่ว่าจะเป็นการยกเลิกภาษีสินค้านำเข้าระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนด้วยกัน หรือการยกเลิกและขจัดมาตราการที่มิใช่ภาษี (Non-Tariff Barriers:NTBs) ที่จะเป็นอุปสรรคทางการค้าก็ตามอาจส่งผลทำให้เกิดการลดต้นทุนในการนำเข้าวัตถุดิบ หรือวัสดุก่อสร้างจากประเทศสมาชิกที่มีต้นทุนการผลิตที่ต่ำกว่า และไม่มีภาษีนำเข้าหรือเพิ่มทางเลือกและความหลากหลายให้กับผู้ประกอบการในการนำเข้าวัตถุดิบ หรือวัสดุก่อสร้างหรือวัสดุตกแต่งบ้านที่มีคุณภาพต่ำ และไมได้มาตรฐานเข้าสู้ตลาดมากขึ้นเช่นกัน
            ทั้งหมดที่กล่าวมาเป็นผลกระทบทางตรงที่อาจเกิดขึ้นกับภาคธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ไทยจากการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในอีก 2 ปีข้างหน้าในขณะที่ผลกระทบทางอ้อมนั้นเมื่อพิจารณาจากโครงสร้างอายุประชากรของประเทศสมาชิกอาเซียนพบว่ามีความคล้ายคลึงกัน โดยประชากรส่วนใหญ่ในแต่ละประเทศอยู่ในวัยหนุ่มสาวและวัยทำงาน (อายุระหว่าง 15-64 ปี) ซึ่งสัดส่วนประชากรวัยทำงานมีสูงถึง70% ของประชากรทั้งหมดในเอเซียน และยังเป็นกลุ่มที่มีกำลังซื้อสูงพร้อมจะลองสินค้าใหม่ ๆ ที่มีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมต่าง ๆ มาใช้ในการผลิตส่งผลทำให้เกิดแนวคิดการพัฒนาและ การออกแบบที่อยู่อาศัยเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมน่าจะมีความแปลกใหม่และดึงดูดความสนใจมากยิ่งขึ้น โดยมีการนำวัตถุดิบจากธรรมชาติมาผสมผสานในการออกแบบ หรือวัสดุก่อสร้างที่สามารถกำจัดเศษเหลือทิ้งได้ง่ายและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งผู้ประกอบการธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ไทยควรเร่งปรับตัวให้ทันกับพฤติกรรมของผู้บริโภคในอาเซียนที่หันมาให้ความสำคัญกับสินค้าประเภทดังกล่าวมากขึ้น
            นอกจากนี้ รายได้เฉลี่ยของประชากรในแต่ละประเทศสมาชิกก็อาจจะเป็นตัวกำหนดแนวคิดในการพัฒนาและออกแบบที่อยู่อาศัยได้เช่นกันโดยสิงคโปร์และบรูไนจัดอยู่ในกลุ่มประเทศที่มีรายได้สูง ทำให้ผู้บริโภคนิยมสินค้าที่มีแบรนสินค้าโดยคำนึงถึงคุณภาพและความทันสมัยของสินค้าเป็นสำคัญ ดังนั้นผู้ประกอบการจึงควรให้ความสำคัญกับแนวคิดที่เน้นในเรื่องของคุณภาพชีวิตและความปลอดภัยมาก่อนเป็นอันดับแรก



คำอธิบาย: https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEg4NoHgP-_Ru6zKSm3MMtqVSM6SYpGyCqmxdkQeXkyhEW0a5IdxvWT7eXHi5B_Exui9v_pWteOX4YkwJH0Wea3UtS6wBzBMtOmYWh-ZnbnppeCfIuWowpsVpBy-wcILuUSUTFn2zxxDMQhA/s640/images.jpg
            ในขณะที่มาเลเซียและไทยจัดอยู่ในกลุ่มประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูง ซึ่งผู้บริโภคมักให้ความสำคัญกับสินค้าเทคโนโลยีและสารสนเทศรวมถึงสินค้าที่สนองตอบต่อวิถีชีวิตที่เร่งรีบ ผู้ประกอบการจึงควรพัฒนาโครงการที่ช่วยส่งเสริมหรือสนับสนุนการทำงานของผู้อยู่อาศัยให้ประสบความสำเร็จและบรรลุเป้าหมายในชีวิตได้เร็วขึ้น เช่น มีสภาพแวดล้อมที่สนับสนุนการทำงาน หรือเอื้อให้เกิดการพัฒนาตนเอง เป็นที่ตั้งอยู่ในที่ที่เดินทางสะดวกหรือไม่ต้องเสียเวลาไปกับการดูแลทำความสะอาดที่อยู่อาศัยเหล่านี้ เป็นต้น
            ในขณะที่ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ เวียดนามและลาว จัดอยู่ในกลุ่มประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-ต่ำ ส่วน กัมพูชา และพม่าจัดอยู่ในประเทศที่มีรายได้ต่ำ ซึ่งผู้บริโภคในประเทศเหล่านี้จะมีกำลังซื้อไม่สูงมากนักจึงนิยมบริโภคสินค้าที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตประจำวันผู้ประกอบการจึงควรให้ความสำคัญกับความคุ้มค่าในเรื่องของราคาเป็นสำคัญ ดังนั้น ผู้ประอบการไทยจึงต้องเร่งปรับตัวและศึกษาหาข้อมูลต่าง ๆ ให้ครบถ้วนรอบด้านทั้งความได้เปรียบเสียเปรียบ ตลอดจนต้องรู้จักเรียนรู้วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพรีและความคิดของประเทศเพื่อนบ้านเพื่อจะได้เตรียมความพร้อมและรับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่อาจจะเกิดขึ้น เมื่อประเทศไทยก้าวเข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในอีก 3 ปีข้างหน้า 2564



            ประเด็นที่น่าสนใจคือ เมื่อ ASEAN รวมตัวกันได้ ก็จะทำให้เกิด Win-Win นั่นก็คือ ภาพรวมเศรษฐกิจในประเทศสมาชิกมีการขยายตัวขึ้น หัวใจของการรวมตัวก็เพื่อที่สร้าง Single Market และก็ Single Production Base ภาพรวมของ กลุ่ม AEC คือ มีประชากรรวมกัน 601 ล้านคน (คิดเป็น 8.8% ขอประชากรทั้งโลก ซึ่งถ้าสามารถรวมตัวกันได้จริง ตามเป้าหมายที่วางไว้คือปี 2018 จะทำให้กลุ่ม AEC มีขนาดของเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 9 ของโลกที่ขนาด $1,800 billion)…เทียบกับเศรษฐกิจโลกคือ $14,256 billion, EU $12,517 billion, ญี่ปุ่น $5,068 billion,จีน$4,910 billion เป็นต้น
            หากคุณเป็นผู้ประกอบการ สิ่งที่น่าสนใจ คือ การเข้าใช้ประโยชน์ในเรื่องการหาแรงงานที่ราคาถูก และ สามารถผลิตใกล้แหล่งวัตถุดิบ
            มีวัตถุประสงค์ของการรวมตัวของ AEC จะประกอบไปด้วย 5 ด้านคือ 1.Free flow of goods   2.Free flow of Investment 3. Free flow of capital   4. Free flow of skilled labour และ 5. Free flow of services
           
คำอธิบาย: https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEiEfd0TTYyek9woHQrf_p_dLZ0pfDFlI_ejoTaNLGZ6KzOvjgrzxZJKDK94icjR0PJDtPUk8iJgsArX2b_LR-RbsIWG4AOPP8Z5ZcjXtghE7qWX1i-tnn3kUw-sbqwTZ28DeN4ZLz1Wvkr4/s640/therapy.png




            ก็สรุปได้ว่า “คนสมัยก่อนคาดไม่ถึงว่า เมืองจะเติบโต และมีคนอยู่มาก ที่ดินก็ราคาพุ่งสูง ..ดังนั้น ในยุคนั้นก็แทบไม่มีใครสนใจลงทุนในที่ดินเลย
                        เดี๋ยวนี้กลับกลายเป็นว่า คนที่มีเงินส่วนใหญ่ในกรุงเทพ มักรวยมาจากที่ดินทั้งนั้นไอ้ที่ทำงานได้เงินเป็นแสน ๆ แล้วจะรวยเป็นร้อย ๆ ล้าน “อันนั้นมันไกลไป,,
           
           
            ประเด็นที่ 4 จังหวัด พิษณุโลก-เพชรบูรณ์  ศูนย์กลางเมืองอุตสาหกรรมอาหาร  เป็นศูนย์กลางการค้าของภาคเหนือตอนล่าง  มีข้อได้เปรียบด้วยการท่องเที่ยว มีนักท่องเที่ยวเดินทางมาปีละหลาย 8 ล้านคน ดังนั้นกลุ่มจังหวัดภาคเหนือ  มีความพร้อมสามารถพัฒนาให้เป็นศูนย์กลางด้านกลางด้านการท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาวหรือ Long Stay ในอนาคตได้ เชื่อมโยงไปยังทุกจังหวัดในกลุ่มการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพหรือการแพทย์(Medical Tourism) เป็นยุทธศาสตร์ที่สำคัญของกลุ่มจังหวัด โดยให้ จ.พิษณุโลก เป็นฮัฟ ส่งเสริมการท่องเที่ยวและอื่นๆ เป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) ในภูมิภาค ซึ่งการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพมีความเกี่ยวข้องกับธุรกิจทุกกลุ่ม เช่น โรงพยาบาล คลินิค บริษัทท่องเที่ยว โรงแรม สถานพักฟื้น นวดแผนไทย  สปา รถไฟความเร็วสูง
            ในอนาคตอันใกล้จะมีผู้สูงอายุญี่ปุ่นเดินทางมาพำนักในประเทศไทยเพิ่มขึ้นมากกว่า 20% ปัจจุบันเข้ามาพำนักอยู่แล้ว 3,800-4,000 คน และยังมีผู้สูงอายุประเทศอื่นอีกในสัดส่วนใกล้เคียงกัน จะมีเม็ดเงินหมุนเวียนใช้จ่ายเฉลี่ยปีละ6,000-7,000 ล้านบาท
                ขณะที่กลุ่มผู้สูงอายุหรือวัยปลดเกษียณชาวญี่ปุ่นมีประมาณ 8 แสน - 1 ล้านคน และมีผู้ที่อายุเกิน 60ปีในญี่ปุ่นประมาณ 7-8 ล้านคน โดยสัดส่วน 18% จะชอบเดินทางไปพำนักในประเทศอื่นๆ ดังนั้น จะต้องทำให้กลุ่มจังหวัดภาคเหนือดอนบนเป็นพื้นที่เป้าหมายที่ชาวญี่ปุ่นจะต้องเดินทางมาท่องเที่ยวให้ได้โครงการบ้านพักตากอากาศและบ้านพักคนชรา
    โครงการคอนโดมิเนียมและซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์ สหกรณ์ออมทรัพย์ครู เขาค้อ  เหมาะต่อการตัดสินใจในการให้บริการในเวลานี้ ประเด็นที่สำคัญคือประเทศไทยเป็นประเทศที่เหมาะแก่การอยู่อาศัยของชาวต่างชาติหลังเกษียณอายุมากที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศต่างๆทั่วโลกด้วยการพิจารณาจากเงื่อนไขด้านเศรษฐกิจ และรูปแบบการดำเนินชีวิต โดยจากการสำรวจพบว่าเหตุผลที่ทำให้ประเทศไทยเหมาะแก่การเป็นที่อยู่อาศัยของชาวต่างชาติหลังเกษียณอายุมากที่สุด มีดังนี้การตัดสินใจใช้รับบริการ ให้ดูแลผู้ป่วยหรือ พ่อและแม่ หรือผู้อนุบาลต่างๆนั้นจักต้องใช้ความละเอียดอ่อนในการตัดสินใจ ผู้บริโภคจึงต้องร่วมกันตัดสินใจหลายคน จึงต้องใช้พฤติกรรมหมู่ ร่วม ในการตัดสินใจ   
     โครงการคอนโดมิเนียมและซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์ สหกรณ์ออมทรัพย์ครู เขาค้อ เรามีกลยุทธ์ที่ดีในการให้บริการและมีประสบการณ์ ในการดูและผู้สูงอายุในนาม   โครงการคอนโดมิเนียมและซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์ สหกรณ์ออมทรัพย์ครู เขาค้อ นี้ด้วยประกอบกับชื่อเสียงของ เรามีชื่อเสียง ให้ดูแลผู้สองอายุหรือผู้อนุบาล ของตน และบอกต่อแนะนำลูกค้า ตลอดมา ตัดสินใจใช้กลยุทธ์นี้ตัดสินใจทำโครงการซีเนี่ยร์คอมเพล็ก โครงการบ้านพักตากอากาศและบ้านพัก
คำอธิบาย: https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEjxxeJgnnJGUSBzbdX6oXRXdehIvLfmNl3uWrzJspFiIeu9CCkXGpXX5sdjsj922Kxsx2zJVh8MNRKkMZ4i12o2Odsot5oUsn1nw6joOXagvY0oE9heC-RVAczFXNYl5dxSkguddr4brUCY/s640/happy-homes-grand-layout-plan-6962053+%25281%2529.jpeg
เฟส2
            ประเด็นที่ห้า การลงทุนการค้าปลีกจากนักลงทุนในและต่างประเทศ ซึ่งดำเนินโครงกรขนาดใหญ่หลายรายการ อาทิเช่น การปักธงของทุนข้ามชาติ    และทุนจากส่วนกลาง “เซ็นทรัล” ที่ประกาศลงทุน “เซ็นทรัล  และไทวัสดุ และห้างค้าปลีก แมคโคร  บิ๊กซีและโลตัส  ” อย่างเป็นทางการ ทำให้อุณหภูมิการแข่งขันของสมรภูมิค้าปลีกใน เมืองพิษณุโลก-เพชรบูรณ์ คึกคักอย่างมากในช่วงไตรมาสแรกของปีนี้ เพราะมูลค่าการลงทุนของทั้งสองห้างสูงเกือบ20,000 ล้านบาท และมีพื้นที่ใช้
            สิ่งที่น่าสนใจมากกว่านั้นคือ ทุนใน ท้องถิ่นและส่วนกลาง ต่างก็เทเม็ดเงินลงทุนเพิ่มขึ้นอย่างผิดตา    ทั้งการลงทุนใหม่    การปรับปรุง  (Renovate) พื้นที่ใหม่รวมถึงการเกิดขึ้นของคอมมิวนิตี้มอลล์(community mall) จำนวนมากติดอันดับต้นๆของประเทศ ขณะที่ฐานตลาดเดิม จังหวัด พิษณุโลกและเพชรบูรณ์  มีศูนย์การค้าใหญ่สุดในภาคเหนืออยู่แล้ว ซึ่งมีทั้งห้าง “พลาซ่า” พื้นที่อาคารที่ใช้สอย 175,185 ตารางเมตร ด้วยเงินลงทุน 3,000 ล้านบาท รวมถึง ลงทุนกว่า 5,000 ล้านบาท
            ในอนาคตอันใกล้ภายในปี 2560-64 ห้างค้าปลีก ศูนย์การค้า และคอมมิวนิตี้มอลล์ของ จังหวัด พิษณุโลก จะมีพื้นที่ขายมากกว่า 1 ล้านตารางเมตร ยิ่งจะทำให้พื้นที่ ค้าปลีกทุกระดับใน เขต.เขาค้อและภูทับเบิก   ติดอันดับเติบโตมากที่สุดในภูมิภาคและการพัฒนาสนามบิน ในจ.เพชรบูรณ์และสนามบินพิษณุโลก กำลังพัฒนา และดอนเมือง-สนามบินสุวรรณภูมิ ให้เจริญและทันสมัย รองรับกับ ผู้สูงอายุที่เดินท่องเที่ยวทั่วไทยและทั่วโลกซึ่งอยู่ใกล้เดินทางสะดวก
            สิ่งที่สร้างความมั่นใจให้เกิดการลงทุนขนาดใหญ่ เซ็นทรัล ต่างๆเช่น ถนน  พิษณุโลก-หล่มสัก  จากผลการ สำรวจวิจัยของ บริษัท อีซีซี อินเตอร์เนชั่นแนล เรียลเอสเตท จำกัด ผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์และบริหารจัดการห้างสรรพสินค้าชั้นนำสัญชาติ เนเธอร์แลนด์ ระบุว่า จังหวัด พิษณุโลก-เพชรบูรณ์ มีการเติบโตขึ้น อย่างต่อเนื่องมีประชากรในตัวเมืองและจังหวัด ใกล้เคียง  มาร่วมกันค้าขายและ สร้างเศรษฐกิจร่วมกันในชุมชน รวมกัน 30 ล้านคน หรือ 500,000 ครัวเรือนโดยเฉพาะอย่างยิ่งในแง่ความต้องการของผู้บริโภค รายได้ประชากร และการก่อสร้างโครงการที่พักอาศัยและปริมาณแรงานที่หลั่งไหลเข้าสู่ตัว จังหวัด
คำอธิบาย: https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEiSjL_-3GjWi0-cfLNBYLL1rKdr7LU-vD1713fPnOcM0YlBQ3LJiGM7iMp-FbrCEJmarxZ9IIj3HgnUQ-Djg7_J9XXCYWF77zJvHkFCTVzMUcKweQqEVECmtyoYh7OFb-hLpxgkd4QuQqhq/s640/editor_image_74f00843fc575114609e6c5057b1300d.jpg

            เปรียบเทียบกับพื้นที่เป็นตารางเมตร ของช็อปปิ้งมอลล์ที่ไม่เพิ่มขึ้นในช่วง 10 ปีหลัง ทำให้เห็น ว่า จ.เพชรบูรณ์ เขาค้อ  ยังไมได้รับการตอบสนองในด้านแหล่งค้าปลีกอย่างเพียงพอ
            นอกจากนี้ ห้างพร้อมเมดาฯยังได้ว่าจ้าง ที เอ็น เอสฯ และเน็กซัสฯศึกษาวิจัยข้อมูลตลาดและพฤติกรรมผู้บริโภค พบว่าชาว เพชรบูรณ์  ต้องการช็อปปิ้งมอลล์ที่แปลกใหม่ และผู้บริโภค พบว่าชาว นักท่องเที่ยว เขาค้อ ต้องกรชีอปปิ้งมอลล์ที่แปลกใหม่ และผู้บริโภคยังมีพฤติกรรมแสวงหาประสบการณ์การพักผ่อนและการช็อปปิ้งที่ตอบ สนองไลฟ์สไตล์ยุคใหม่มากขึ้น          จากปรากฏการณ์เคลื่อนตัวของทุนขนาดใหญ่ ทำให้ทุนท้องถิ่นเดิมทั้งขนาดเล็กและใหญ่ขยับตัวกันอย่างคักคักและเติบโต อย่างก้าวกระโดด
           
            จากนี้ไป จ.พิษณุโลก-เพชรบูรณ์ เขาค้อ จะกลายเป็นเมืองที่มีห้างค้าปลีกโตคู่กับการพัฒนา อสังหาริมทรัพย์แนวใหม่ ที่ตอบสนองพฤติกรรมการบริโภคที่เป็น “ไลฟ์สไตล์สมัยใหม่มากขึ้น
            ประเด็นที่6  คือความต้องการการมีบ้านพักผ่อน ของวัยทำงาน แม้ว่าในโลกนี้จะมีหลายๆสิ่งที่เราอยากได้มาเป็นเจ้าของอย่างเจ้ารถยนต์คันสวย มือถือรุ่นล่าสุด นาฬิกายี่ห้อดัง โน๊ตบุ๊ค ล่าสุด เครื่องปรับสวยๆและอื่นๆอีกมากมาย แต่ “บ้าน” ก็จัดเป็นหนึ่งในความใฝ่ฝันของ

    ใครหลายๆคน ที่อยากจะครอบครอง เพราะบ้านไมได้เป็นแค่สินทรัพย์ ทั้งๆที่บ้านสร้างด้วย อิฐ หิน ปูน ไม่มีชีวิต แต่ทำไมเรามักจะรำพึงรำพันว่า “คิดถึงบ้านเสมอๆ
สักหลัง มาดูเหตุผลที่ควรมีบ้านดีว่า “ไม่อยากเช่าบ้านไปตลอดชีวิต” แม้ว่าการซื้อบ้านสักหลังคอนโดสักห้องและมีผู้ดูแลอย่างดี ในยามเจ็บไข้และชราภาพแบบนี้  ต้องใช้เงินก้อน และกว่าจะเก็บเงินก้อนได้ก็ต้องใช้เวลาพอสมควร การเริ่มต้นมีบ้านหรือโลกส่วนตัวของคุณเองโดยการเช่าอยู่นั้นถือว่าเป็นการเริ่มต้นที่ดี แต่คุณรู้ไหมว่าเงินที่จ่ายค่าเช่าในแต่ละเดือนนั้น ไมได้มากไปกว่าการผ่อนบ้านในแต่ละเดือน ต่างกันตรงที่คุณได้เป็นเจ้าของบ้านด้วย ผิดกับการเช่าที่จ่ายเงินไปแล้วแลกกับการอยู่อาศัยเท่านั้น โครงการคอนโดมิเนียมและซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์ สหกรณ์ออมทรัพย์ครู เขาค้อ หากคุณเช่าบ้านมาสักระยะหนึ่งแล้ว ควรจริงจังในการเก็บเงินสักก้อนเพื่อซื้อบ้าน ซึ่งถือได้ว่าเป็นการลงทุนที่คุ้มค่ามากกว่าการเช่าอยู่ ยิ่งเช่าอยู่นานเท่าไหร่เท่ากับคุณจ่ายค่าเสียโอกาสในการมีบ้านไปมากเท่านั้น อย่าลืมว่า “บ้าน” เป็นทรัพย์สินที่มีแต่ทวีเพิ่มสูงขึ้น    “ปล่อยเช่าก็ได้ ขายต่อก็ราคาดี”    บรรดาอสังหาริมทรัพย์ต่างๆนั้น เท่าที่ผ่านมามูลค่ามักมีแต่จะคงที่หรือเพิ่มขึ้น การมีบ้าน คอนโดมิเนียมหรูๆ หรือ ทาวน์โฮม บ้านพักผ่อน นั้น จัดว่าเป็นการลงทุนที่ดีที่สุดเพราะนอกจากคุณจะได้ประโยชน์เพื่อการอยู่อาศัยแล้ว คุณยังสารถนำไปปล่อยเช่าเป็นรายได้ประโยชน์เพื่อการอยู่อาศัยแล้ว คุณยังสามารถนำไปปล่อยเช่าเป็นรายได้ต่ออีกทางหนึ่ง และคุณยังสมารถนำดอกเบี้ยที่คุณใช้ผ่อนบ้านมาหักภาษีอีกต่ออีกทาง ในขณะที่เมื่อคุณผ่อนไปเรื่อยๆจนยอดหนี้คงค้างลดลงกรรมสิทธิ์ในความเป็นเจ้าของบ้านของคุณก็จะเพิ่มขึ้น ดังนั้นการซื้อบ้านหรืออสังหาริมทรัพย์อื่นๆ โครงการคอนโดมิเนียมและซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์ สหกรณ์ออมทรัพย์ครู เขาค้อ นั้นมีแต่ได้กับได้เกิดขึ้นกับตัวคุณเองบ้านพัก,ห้องพัก  คือจุดเริ่มต้นของความมั่นคง
                       
คำอธิบาย: https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEjZoIFl3TpQHyicTziNa5wF5Q3MyMq7Ux02TXU-rG5AGJeBkseuhTM7BeFuIGRdVIhDd-loD4rWqbeLPHRBd69Ec6BG3zoUicOrNMKdqS8wXA9AGOk8Yqgn4dm41codGPDorfPW9rzsyh5M/s640/l_6280_1487646351638704055.jpg

      จะมีที่ใดที่จะเป็นจุดเริ่มต้นขอความรัก ความอบอุ่น และความผูกพัน ได้ดีเท่าที่บ้าน เพราะบ้านไม่ใช่เป็นที่พักพิงแต่ยังก่อให้เกิดความรู้สึกดี ๆ มากมายของสมาชิกในบ้าน ลองถามตัวเองว่าถามเวลาของตำแหน่งใหม่ของคุณหรือยัง ตำแหน่ง “เจ้าของบ้าน” ที่คุณเป็นหัวหน้าครอบครัว กับโลกใบเล็ก ๆของคุณที่คุณจะใช้ชีวิตหลังจากการทำงานได้อย่างอิสระ ที่มีคนคอยคุณกลับบ้าน ที่ที่มีคนรอดูละครหลังข่าวเรื่องโปรดร่วมกับคุณ ที่ที่คุณเป็นคนสำคัญที่สุด ที่ที่จะเติมเต็มเวลาและความผูกพันดีๆร่วมกัน สำหรับบางคน บ้านอาจจะหมายถึงคอนโดห้องเล็กๆ หรือทาวน์โฮม เก๋ ๆบ้านทาวน์เฮาส์ บ้านเดี่ยว,คอนโดมิเนียมหรูๆที่แบบสวยงาม มีให้เลือกหลายแบบ ที่น่าสนใจ บ้านพักตากอากาศ สักหลังที่อยู่ไม่ไกลที่ทำงาน แต่บางคนบ้านอาจจะหมายถึงที่มีสนามรอบ ๆ มีพื้นที่สวนสำหรับปลูกต้นไม้ดอกไม้ มีที่สำหรับให้เด็ก ๆ วิ่งเล่น หรือธรรมชาติร่มรื่น ๆ ให้คุณพ่อคุณแม่ได้พักผ่อนและแอบภูมิใจในตัวคุณหากได้คำตอบว่าถึงเวลาแล้วที่คุณจะมีบ้านเป็นของตัวเองสักหลังไม่ว่าด้วยเหตุผลใด ขอให้ความปรารถนานั้นเป็นจริงเพราะคุณเริ่มก้าวสู่ความมั่นคงแล้ว
            ค่านิยมของคนว่ายังไงก็ต้องมีบ้านเป็นเป้าหมาย เป็นเหมือนแรงผลักดัน เป็นแรงใจให้เรามีกำลังใจที่จะทำอะไรสักอย่างด้วยความตั้งใจ อดทน และมุ่งมั่นที่จะกระทำให้สำเร็จ ซึ่งจะแตกต่างจากคนที่ไม่มีเป้าหมายในชีวิต เพราะคนที่ไม่มีเป้าหมายในชีวิตของตัวเอง จะรู้สึกถึงความเฉื่อยชา ไม่มีแรงผลักดันให้ตัวเองก้าวไปข้างหน้า เปรียบเหมือนกับจักรยานที่โซ่ไม่เคยหยอดน้ำมัน เวลาปั่นไปก็จะเกิดความฝืด ทำให้ไปได้อย่างช้า ๆ
            ท่ามกลางการเพิ่มขึ้นของคนเมืองกับพื้นที่ที่มีอยู่เท่าเดิม การจับจองพื้นที่ให้กับตัวเอง จึงเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ทุกคนต่างแสวงหาทุกวันนี้บ้านเล็กลง บ้านหลังใหญ่ก็มีแต่แพงเหลือหลาย ทางออกที่ดีที่สุดของคนเมือง นั่นก็คือการพึ่งพาอสังหาริมทรัพย์ในรูปแบบใหม่ที่ราคาประหยัด เพื่อการใช้ชีวิตในเมืองบางทีอาจเรียกว่า “บ้าน”  ของผู้คนยุคศตวรรษที่ 20 ก็เป็นได้   

       โครงการคอนโดมิเนียมและซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์ สหกรณ์ออมทรัพย์ครู เขาค้อ   อย่างไรก็ตามทั้งบ้านและคอนโดมิเนียมหรูๆ ย่อมมีทั้งข้อเด่นและด้อยตามความชอบของแต่ละบุคคล คราวนี้ เช่นเคย ดร.สมัย  เหมมั่น เตรียมข้อมูลต่าง ๆ สำหรับคนเมือง เพื่อนำไปสู่การใช้ชีวิตในบ้าน ได้รับรู้ และเข้าใจตั้งแต่วิธีการเลือก ตกแต่ง ออกแบบ ไล่ไปจนถึงการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข คุ้มค่าต่อการลงทุน ต้อนรับการท่องเที่ยวระดับ อาเซียน    
           
คำอธิบาย: https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEjN-vIxtjpo1hCzfpbV3tuRn7A-D7he_3e8mPS9uhGmDOkajh_1cDoB3LIjLkMpMg98SMfhR3ory__knVwPGEsGMkIsZOtGbcGYrDuTCzVHQw8uOTPLA43CHLXPBW2dn_mSW-3ksnoX5QuI/s640/37670624_2156492744380449_4537224539783823360_n.jpg

         ประเทศไทย เป็นจุดที่น่าอยู่อาศัยมากที่สุดในโลก ทั้งสังคมและวัฒนธรรม อาหารการกิน การอยู่อาศัยที่เรียบง่าย เป็นที่น่าสนใจของคนต่างประเทศเป็นทางเลือกของชนชาติอื่น ทั้งกลุ่มยุโรปและรัสเซียและตะวันออกกลาง เป็นอย่างยิ่ง  อันนี้ น่าสนใจในการลงทุนอสังหาริมทรัพย์ ใน โครงการคอนโดมิเนียมและซีเนี่ยร์คอมเพล็กซ์ สหกรณ์ออมทรัพย์ครู เขาค้อ รองรับพี่น้องข้าราชการครูและข้าราชการพลเรือน  ทุกท่านที่ต้องการมีบริการที่ดีต่อชีวิตโทรหาผม ดร.สมัย เหมมั่น


                 ดร.สมัย  เหมมั่น  กรรมการบริหาร  กิจการผู้สูงอายุ CHB
รูแบบอาคารที่จัดไว้บริการ ดังนี้

แบบห้องน้าและห้องนอน

แบบเฟส 2
แบบห้อง คล้ายกับเฟส1





            เฟส ที่1    เสนอราคาจำหน่าย   1,250,000 2,200,000  เนื้อที่โครงการ  14 ไร่ 2 งาน

        เฟสที่2  โครงการ 5 ไร่  เสนอราคาจำหน่าย ห้องล่ะ 900,000- 1,250,000  บาท


จังหวัดเพชรบูรณ์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไบยังการนำทางไปยังการค้นหา
สำหรับเพชรบูรณ์ ในความหมายอื่น ดูที่ เพชรบูรณ์ (แก้ความกำกวม)
จังหวัดเพชรบูรณ์
ตราประจำจังหวัดเพชรบูรณ์
ตราประจำจังหวัด
เมืองมะขามหวาน อุทยานน้ำหนาว ศรีเทพเมืองเก่า เขาค้ออนุสรณ์ นครพ่อขุนผาเมือง
ข้อมูลทั่วไป
อักษรไทย เพชรบูรณ์
อักษรโรมัน Phetchabun
ชื่อไทยอื่น ๆ เพชบุระ
ผู้ว่าราชการ พิบูลย์ หัตถกิจโกศล
(ตั้งแต่ พ.ศ. 2559)
ข้อมูลสถิติ
พื้นที่ 12,668.416 ตร.กม.[1]
(อันดับที่ 9)
ประชากร 995,331 คน[2] (พ.ศ. 2560)
(อันดับที่ 21)
ความหนาแน่น 78.56 คน/ตร.กม.
(อันดับที่ 63)
ISO 3166-2 TH-67
สัญลักษณ์ประจำจังหวัด
ต้นไม้ มะขาม
ดอกไม้ มะขาม
สัตว์น้ำ แมงกะพรุนน้ำจืดชนิด Craspedacusta sowerbii
ศาลากลางจังหวัด
ที่ตั้ง ภายในศูนย์ราชการจังหวัดเพชรบูรณ์ หมู่ที่ 5 ถนนสระบุรี-หล่มสัก ตำบลสะเดียง อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ 67000
เว็บไซต์ จังหวัดเพชรบูรณ์
แผนที่
 
ประเทศมาเลเซียประเทศพม่าประเทศลาวประเทศเวียดนามประเทศกัมพูชาจังหวัดนราธิวาสจังหวัดยะลาจังหวัดปัตตานีจังหวัดสงขลาจังหวัดสตูลจังหวัดตรังจังหวัดพัทลุงจังหวัดกระบี่จังหวัดภูเก็ตจังหวัดพังงาจังหวัดนครศรีธรรมราชจังหวัดสุราษฎร์ธานีจังหวัดระนองจังหวัดชุมพรจังหวัดประจวบคีรีขันธ์จังหวัดเพชรบุรีจังหวัดราชบุรีจังหวัดสมุทรสงครามจังหวัดสมุทรสาครกรุงเทพมหานครจังหวัดสมุทรปราการจังหวัดฉะเชิงเทราจังหวัดชลบุรีจังหวัดระยองจังหวัดจันทบุรีจังหวัดตราดจังหวัดสระแก้วจังหวัดปราจีนบุรีจังหวัดนครนายกจังหวัดปทุมธานีจังหวัดนนทบุรีจังหวัดนครปฐมจังหวัดกาญจนบุรีจังหวัดสุพรรณบุรีจังหวัดพระนครศรีอยุธยาจังหวัดอ่างทองจังหวัดสิงห์บุรีจังหวัดสระบุรีจังหวัดลพบุรีจังหวัดนครราชสีมาจังหวัดบุรีรัมย์จังหวัดสุรินทร์จังหวัดศรีสะเกษจังหวัดอุบลราชธานีจังหวัดอุทัยธานีจังหวัดชัยนาทจังหวัดอำนาจเจริญจังหวัดยโสธรจังหวัดร้อยเอ็ดจังหวัดมหาสารคามจังหวัดขอนแก่นจังหวัดชัยภูมิจังหวัดเพชรบูรณ์จังหวัดนครสวรรค์จังหวัดพิจิตรจังหวัดกำแพงเพชรจังหวัดตากจังหวัดมุกดาหารจังหวัดกาฬสินธุ์จังหวัดเลยจังหวัดหนองบัวลำภูจังหวัดหนองคายจังหวัดอุดรธานีจังหวัดบึงกาฬจังหวัดสกลนครจังหวัดนครพนมจังหวัดพิษณุโลกจังหวัดอุตรดิตถ์จังหวัดสุโขทัยจังหวัดน่านจังหวัดพะเยาจังหวัดแพร่จังหวัดเชียงรายจังหวัดลำปางจังหวัดลำพูนจังหวัดเชียงใหม่จังหวัดแม่ฮ่องสอนแผนที่ประเทศไทย จังหวัดเพชรบูรณ์เน้นสีแดง
เกี่ยวกับภาพนี้

สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย
จังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางตอนบนของประเทศไทย[3] มีพื้นที่ประมาณ 12,668 ตารางกิโลเมตร ซึ่งมีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 9 ของประเทศ มีประชากร 994,397 คน[2] แบ่งการปกครองออกเป็น 11 อำเภอ และมีเขตเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์เป็นศูนย์กลางของจังหวัด เป็นจังหวัดที่มีทรัพยากรธรรมชาติ มีความอุดมสมบูรณ์ และมีแหล่งท่องเที่ยวจำนวนมาก

ศัพท์มูลวิทยา[แก้]

ชื่อของจังหวัดเพชรบูรณ์ เมื่อสมัยก่อนน่าจะชื่อว่าเมือง "เพชบุระ" ตามที่ปรากฏในจารึกลานทองคำ ที่พบจากเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ วัดมหาธาตุ ซึ่งหมายถึงเมืองแห่งพืชพันธุ์ธัญญาหาร แต่ในระยะหลังต่อมาได้เพื้ยนหรือเปลี่ยนเป็นชื่อ "เพ็ชร์บูรณ์"[4] และเปลี่ยนเป็น "เพชรบูรณ์" กลายความหมายเป็นเมืองที่อุดมด้วยเพชร และได้นำไปใช้เป็นส่วนหนึ่งของตราสัญลักษณ์ประจำจังหวัด

ประวัติศาสตร์[แก้]

ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีการรวบรวมหัวเมืองตามชายแดนที่สำคัญตั้งเป็นเขตการปกครองใหม่ ขึ้นเป็นระบบมณฑลเทศาภิบาล ในปี พ.ศ. 2442 มณฑลเพชรบูรณ์ได้ตั้งขึ้นเป็นอิสระ เนื่องจากท้องที่มีภูเขาล้อมรอบ มีการเชื่อมต่อคมนาคมกับมณฑลอื่นไม่สะดวก ลำบากแก่การติดต่อราชการ และโอนเมืองหล่มสัก อำเภอหล่มเก่า อำเภอวังสะพุง มาขึ้นกับมณฑลเพชรบูรณ์ ยุบเมืองวิเชียรบุรีเป็นอำเภอ โอนอำเภอบัวชุม (ปัจจุบันเป็นตำบล) อำเภอชัยบาดาลขึ้นกับเมืองเพชรบูรณ์ มณฑลเพชรบูรณ์จึงมีสองเมือง คือ หล่มสัก กับ เพชรบูรณ์[5]
พ.ศ. 2447 ได้ยุบมณฑลเพชรบูรณ์ และได้ตั้งเป็นมณฑลอีกในปี พ.ศ. 2450 และได้ยุบอีกครั้งในปี พ.ศ. 2459 จังหวัดเพชรบูรณ์ในขณะนั้นมี 4 อำเภอ ได้แก่ อำเภอเมือง อำเภอวัดป่า (ปัจจุบันคือตำบลในอำเภอหล่มสัก) อำเภอวิเชียรบุรี และกิ่งอำเภอชนแดน[5] จนกระทั่ง พ.ศ. 2476 ได้ยกเลิกมณฑลต่าง ๆ ทั่วประเทศ

ภูมิศาสตร์[แก้]

ที่ตั้ง[แก้]

จังหวัดเพชรบูรณ์มีตำแหน่งทางอุตุนิยมวิทยาในเขตภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย โดยเกณฑ์การแบ่งภาคของราชบัณฑิตยสถาน ได้กำหนดให้เพชรบูรณ์เป็นจังหวัดในภาคกลาง[3] จังหวัดเพชรบูรณ์เป็นจังหวัดที่มีแนวเขตติดต่อระหว่างภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ประมาณเส้นรุ้งที่ 16 องศาเหนือ กับเส้นแวง 101 องศาตะวันออก ส่วนที่กว้างที่สุดวัดจากทิศตะวันออกถึงทิศตะวันตกยาว 55 กิโลเมตร ส่วนที่ยาวที่สุดวัดจากทิศเหนือถึงทิศใต้ยาว 296 กิโลเมตร อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานคร 346 กิโลเมตร ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 21

อาณาเขต[แก้]

ภูมิประเทศ[แก้]

จังหวัดเพชรบูรณ์มีพื้นที่ประมาณ 12,668.416 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 7,917,760 ไร่ สูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 114 เมตร มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 9 ของประเทศ ลักษณะทางกายภาพของจังหวัดเพชรบูรณ์นั้นเป็นพื้นที่ราบลุ่มแบบท้องกระทะ ประกอบด้วยเนินเขา ป่า และที่ราบเป็นตอน ๆ สลับกันไป พื้นที่มีลักษณะลาดชันจากเหนือลงไปใต้ ตอนเหนือมีทิวเขาสูง ตอนกลางเป็นพื้นที่ราบและมีเทือกเขาขนาบกันไปทั้งสองข้างมีลักษณะเป็นรูปเกือกม้า[5] มีแม่น้ำป่าสักเป็นแม่น้ำสายสำคัญโดยไหลจากจังหวัดเลย เพชรบูรณ์ ผ่านไปสู่จังหวัดในภาคกลาง แล้วลงสู่แม่น้ำเจ้าพระยา ตามลำดับ จึงส่งผลให้พื้นที่ดีมีทรัพยากรธรรมชาติมากมาย ดินมีสภาพอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูกพืชทำการเกษตร
ทิวเขาเพชรบูรณ์ในพื้นที่อำเภอเขาค้อ

ภูมิอากาศ[แก้]

เนื่องจากสภาพภูมิประเทศล้อมรอบด้วยภูเขา ทำให้สภาพภูมิอากาศแตกต่างกันมากในแต่ละฤดูกาล คือ อากาศจะร้อนมากในฤดูร้อน และหนาวจัดในฤดูหนาว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่อำเภอน้ำหนาว อำเภอเขาค้อ และอำเภอหล่มเก่า ส่วนพื้นที่บนภูเขาจะมีอากาศเย็นตลอดทั้งปี ในฤดูฝนมีฝนตกชุก และมีน้ำป่าไหลหลากมาท่วมในที่ราบ โดยเฉพาะบริเวณลุ่มแม่น้ำป่าสักตอนใต้ของจังหวัด ในฤดูแล้งน้ำจะขาดแคลนไม่เพียงพอกับการเกษตรกรรม ในฤดูร้อนและฤดูฝน จะมีอุณหภูมิ 20-24 องศาเซลเซียส[6]
[ซ่อน]ข้อมูลภูมิอากาศของจังหวัดเพชรบูรณ์
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 31.9
(89.4)
34.4
(93.9)
36.3
(97.3)
37.2
(99)
35.0
(95)
32.9
(91.2)
32.3
(90.1)
31.8
(89.2)
32.0
(89.6)
32.2
(90)
31.6
(88.9)
31.0
(87.8)
33.22
(91.79)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) 15.9
(60.6)
18.9
(66)
21.8
(71.2)
24.1
(75.4)
24.5
(76.1)
24.2
(75.6)
23.8
(74.8)
23.8
(74.8)
23.6
(74.5)
22.6
(72.7)
19.5
(67.1)
16.1
(61)
21.57
(70.82)
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว) 7.0
(0.276)
17.4
(0.685)
34.5
(1.358)
70.3
(2.768)
157.4
(6.197)
153.1
(6.028)
168.5
(6.634)
189.3
(7.453)
211.9
(8.343)
98.3
(3.87)
13.2
(0.52)
3.8
(0.15)
1,124.7
(44.28)
วันที่มีหยาดน้ำฟ้าโดยเฉลี่ย 1 2 4 7 15 17 18 21 18 11 3 1 118
แหล่งที่มา: Thai Meteorological Department

ทรัพยากรธรรมชาติ[แก้]

จังหวัดเพชรบูรณ์ มีทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหลายชนิด ดังนี้
  • แหล่งน้ำธรรมชาติ ประกอบด้วยแม่น้ำป่าสัก ลุ่มน้ำเชิญ ลุ่มน้ำเข็ก ซึ่งเป็นแหล่งต้นน้ำของแม่น้ำสายต่าง ๆ
  • ป่าไม้ในจังหวัดเพชรบูรณ์มีเนื้อที่ 2,006.51 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 100.00 ของพื้นที่จังหวัด เป็นป่าสงวนแห่งชาติ จำนวน 13 แห่ง อุทยานแห่งชาติ 3 แห่ง เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า 2 แห่ง เขตห้ามล่าสัตว์ป่า 2 แห่ง สวนรุกขชาติ 3 แห่ง วนอุทยาน 1 แห่ง สามารถจำแนกตามเขตการ ใช้ประโยชน์ทรัพยากรที่ดินและป่าไม้ ได้แก่ เขตเพื่อการอนุรักษ์ คิดเป็นร้อยละ 58.59 ของพื้นที่ป่าไม้ทั้งหมด เขตเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ร้อยละ 28.67 และเขตพื้นที่เหมาะสมแก่การเกษตร ร้อยละ 6.67

สัญลักษณ์ประจำจังหวัด[แก้]

หน่วยการปกครอง[แก้]

การปกครองส่วนภูมิภาค[แก้]

แผนที่อำเภอในจังหวัดเพชรบูรณ์
จังหวัดเพชรบูรณ์แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 11 อำเภอ 117 ตำบล 1,430 หมู่บ้าน ซึ่งอำเภอทั้ง 11 อำเภอมีดังนี้

การปกครองส่วนท้องถิ่น[แก้]

จังหวัดเพชรบูรณ์มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรวม 128 แห่ง ประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง (องค์การบริหารส่วนจังหวัดเพชรบูรณ์), เทศบาลเมือง 3 แห่ง, เทศบาลตำบล 22 แห่ง และองค์การบริหารส่วนตำบล 102 แห่ง[7] รายชื่อเทศบาลทั้งหมดในจังหวัดเพชรบูรณ์มีดังนี้

ประชากรศาสตร์[แก้]

สถิติประชากร[แก้]

      หมายถึงจำนวนประชากรได้เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปีก่อน
      หมายถึงจำนวนประชากรได้ลดลงเมื่อเทียบกับปีก่อน
อันดับ
(ปีล่าสุด)
อำเภอ พ.ศ. 2557[8] พ.ศ. 2556[9] พ.ศ. 2555[10] พ.ศ. 2554[11] พ.ศ. 2553[12] พ.ศ. 2552[13] พ.ศ. 2551[14]
1เมืองเพชรบูรณ์ 210,822 210,730 210,420 210,023 211,046 211,055 210,967
2หล่มสัก 157,720 157,576 157,595 157,494 158,535 158,352 158,431
3วิเชียรบุรี 132,542 132,456 132,572 132,299 135,235 135,274 136,538
4หนองไผ่ 112,757 112,885 113,164 112,911 113,370 113,305 113,403
5ชนแดน 79,780 79,685 79,679 79,267 79,494 79,621 80,026
6บึงสามพัน 71,998 71,859 71,770 71,511 71,851 71,626 71,579
7ศรีเทพ 70,608 70,454 70,472 70,143 69,772 69,654 69,670
8หล่มเก่า 66,995 66,885 66,800 66,611 66,741 66,577 66,417
9วังโป่ง 37,393 37,545 37,584 37,552 37,629 37,722 37,873
10เขาค้อ 37,082 36,494 36,043 35,551 35,081 34,762 34,325
11น้ำหนาว 18,110 17,828 17,603 17,445 17,277 17,177 17,003
รวม 995,807 994,397 993,702 990,807 996,031 995,125 996,231

เศรษฐกิจ[แก้]

สภาพทางเศรษฐกิจของจังหวัดเพชรบูรณ์ในปี พ.ศ. 2539 พบว่า ประชากรมีรายได้เฉลี่ยต่อหัว 28,982 บาทต่อปี เป็นอันดับ 56 ของประเทศ โดยทั้งจังหวัดมีผลิตภัณฑ์มวลรวม 26,576.729 ล้านบาท รายได้ส่วนใหญ่ขึ้นอยู่กับสาขาการเกษตรมากที่สุดถึงร้อยละ 33.30 คิดเป็นมูลค่า 8,849.064 ล้านบาท รองลงมาเป็นสาขาค้าส่ง และค้าปลีกร้อยละ 20.64 คิดเป็นมูลค่า 5,486.151 ล้านบาท และสาขาบริการร้อยละ 12.52 คิดเป็นมูลค่า 3,327.126 ล้านบาท อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจร้อยละ 8.03

การเกษตรและอุตสาหกรรม[แก้]

ภาวะเศรษฐกิจจังหวัด ภาวะการค้าของจังหวัดโดยทั่วไป เศรษฐกิจของจังหวัดเพชรบูรณ์ปี พ.ศ. 2543 ปรับตัวดีขึ้นจากภาคการเกษตร โดยผลผลิตที่สำคัญเพิ่มขึ้น ได้แก่ ข้าวนาปี ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ถั่วเขียวผิวมัน และข้าวฟ่าง เนื่องจากราคาปีก่อนจูงใจให้ขยายพื้นที่ปลูก ประกอบกับสภาพอากาศเอื้ออำนวย มีปริมาณฝนตกอย่างต่อเนื่อง ส่วนการอุตสาหากรรมขยายตัวตามการลงทุนด้านอุตสาหกรรมการเกษตร เช่น โรงสีข้าว ไซโลอบเมล็ดพืช ซึ่งเป็นโรงงานขนาดกลางใช้เงินทุน ตั้งแต่ 10 ล้านบาทขึ้นไป จังหวัดเพชรบูรณ์มีผลไม้ที่ขึ้นชื่อ คือ มะขามหวาน ซึ่งนิยมเป็นของฝาก

การท่องเที่ยว[แก้]

การท่องเที่ยวอยู่ในเกณฑ์ดี โดยจำนวนนักท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้นมากในช่วงฤดูการท่องเที่ยวของจังหวัด เนื่องจากภาครัฐบาลและเอกชนได้จัดรายการส่งเสริมการท่องเที่ยว เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวให้เดินทางท่องเที่ยวตามแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญของจังหวัด โดยเฉพาะแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ทำให้เกิดการใช้จ่ายเพื่อการท่องเที่ยวมากขึ้นเป็นอย่างมาก

การก่อสร้าง การเงิน และการจัดเก็บภาษีอากร[แก้]

การก่อสร้างชะลอตัวลดจากปีก่อน โดยการก่อสร้างการให้สินเชื่อเพื่อการลงทุนยังคงหดตัว จากการจดทะเบียนนิติบุคคลของบุคคลของผู้ประกอบการรับเหมาก่อสร้างลดลงร้อยละ 17.64 เงินทุนลดลงร้อยละ 41.56 ตามลำดับภาวะการค้าของจังหวัดในปี พ.ศ. 2543 ยังคงทรงตัวต่อเนื่องจากปีก่อน จะมีการใช้จ่ายมากขึ้นในช่วงฤดูท่องเที่ยว
ในปี พ.ศ. 2543 จังหวัดเพชรบูรณ์ มีสถาบันการเงินที่ให้บริการแก่ประชาชนทั้งสิ้น 46 แห่ง ซึ่งสถาบันการเงินที่สำคัญ ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) ธนาคารอาคารสงเคราะห์ และบริษัทประกันชีวิต
จังหวัดเพชรบูรณ์มีการจัดเก็บภาษีบุคคลธรรมดา นิติบุคคล อากรแสตมป์ มูลค่าเพิ่ม ธุรกิจเฉพาะและอื่น ๆ รวมทั้งสิ้น 346,963 ล้านบาท เทียบกับปีก่อนจัดเก็บได้ 394,292 ล้านบาท หรือการจัดเก็บภาษีอากรลดลง ร้อยละ 12.00 ส่วนการจัดเก็บภาษีสรรพสามิต จำนวนทั้งสิ้น 8,591.38 บาท

โครงสร้างพื้นฐาน[แก้]

การศึกษา[แก้]

การศึกษาแบ่งเป็นระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานการศึกษาขั้นพื้นฐานจำนวน 546 แห่ง และระดับอุดมศึกษา 10 แห่ง

การขนส่ง[แก้]

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 เส้นทางพาดผ่านอุทยานแห่งชาติน้ำหนาว ในอำเภอน้ำหนาว
การขนส่งในจังหวัดเพชรบูรณ์ ส่วนใหญ่จะใช้ระบบถนน เนื่องจากไม่มีทางรถไฟ และมีท่าอากาศยาน 1 แห่ง คือ ท่าอากาศยานเพชรบูรณ์ การขนส่งทางถนนในจังหวัดเพชรบูรณ์ มีทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 21 เป็นทางหลวงสายหลักพาดผ่านในแนวเหนือ-ใต้ ผ่านเขตจังหวัดเป็นระยะทาง 114.834 กิโลเมตร การเดินทางจากกรุงเทพมหานครมายังจังหวัด สามารถใช้ถนนพหลโยธิน จากนั้นเลี้ยวเข้าทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 21 ที่แยกพุแค (ประมาณกิโลเมตรที่ 123 ของถนนพหลโยธิน) ผ่านจังหวัดลพบุรี แล้วเข้ามายังจังหวัดเพชรบูรณ์ ผ่านตัวจังหวัด แล้วออกไปยังจังหวัดเลย ระยะทางจากกรุงเทพมหานครมายังตัวจังหวัดอยู่ห่างประมาณ 346 กิโลเมตร นอกจากนี้ยังมีทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 เชื่อมต่อไปยังจังหวัดพิษณุโลกและจังหวัดขอนแก่น, ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 113 เชื่อมต่อจังหวัดไปยังจังหวัดพิจิตร, ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 225 เชื่อมต่อไปยังจังหวัดนครสวรรค์ และจังหวัดชัยภูมิ

วัฒนธรรมและประเพณี[แก้]

ดูบทความหลักที่: ประเพณีอุ้มพระดำน้ำ

สถานที่สำคัญ[แก้]

อุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ
ทิวทัศน์บริเวณอำเภอเขาค้อ

บุคคลที่มีชื่อเสียง[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. กระโดดขึ้น ศูนย์สารสนเทศเพื่อการบริหารและงานปกครอง. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ข้อมูลการปกครอง." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.dopa.go.th/padmic/jungwad76/jungwad76.htm [ม.ป.ป.]. สืบค้น 18 เมษายน 2553.
  2. กระโดดขึ้นไป: 2.0 2.1 กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.bora.dopa.go.th/stat/pk/pk_57.pdf 2560. สืบค้น 9 มีนาคม 2561.
  3. กระโดดขึ้นไป: 3.0 3.1 การแบ่งภูมิภาคในประเทศไทย
  4. กระโดดขึ้น ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนชื่ออำเภอ. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 34 ตอนที่ ๐ก วันที่ 29 เมษายน 2460
  5. กระโดดขึ้นไป: 5.0 5.1 5.2 คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ ในคณะกรรมการอำนวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว , วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดเพชรบูรณ์ , (กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว ,2543).
  6. กระโดดขึ้น สารสนเทศจังหวัด สภาพทั่วไป เว็บไซต์จังหวัดเพชรบูรณ์
  7. กระโดดขึ้น ข้อมูลจำนวน อปท. แยกรายจังหวัด กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
  8. กระโดดขึ้น กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.bora.dopa.go.th/stat/pk/pk_57.pdf 2558. สืบค้น 1 มีนาคม 2558.
  9. กระโดดขึ้น ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักทะเบียนกลาง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่างๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๖, เล่ม ๑๓๑, ตอน ๔๑ ง , ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๗, หน้า ๑
  10. กระโดดขึ้น กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.bora.dopa.go.th/stat/y_stat55.html 2555. สืบค้น 3 เมษายน 2556.
  11. กระโดดขึ้น กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.bora.dopa.go.th/stat/y_stat54.html 2555. สืบค้น 6 เมษายน 2555.
  12. กระโดดขึ้น กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.dopa.go.th/stat/y_stat53.html 2553. สืบค้น 30 มกราคม 2554.
  13. กระโดดขึ้น กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552."203.113.86.149/stat/y_stat.htmlสืบค้น 30 มีนาคม 2553
  14. กระโดดขึ้น กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.dopa.go.th/stat/y_stat51.html 2552. สืบค้น 30 มกราคม 2552.

ดูเพิ่ม[แก้]

ความคิดเห็น

  1. Wellness and World peace center หากพิจารณาเจาะจงลงไปในบริการด้านการแพทย์และความงามแล้ว ประเทศไทยมีความได้เปรียบทางการแข่งขันระดับสูงมาก ดังจะเห็นได้จากการที่ประเทศไทยมีผู้ป่วยต่างชาติที่เข้ามารับบริการการแพทย์ถึง1.2 ล้านคน (ปี 2556) นับเป็นอันดับ 1 ด้าน Medical Hub ของโลก (Bloomberg 2013) เมื่อเปรียบเทียบในประเทศอาเซียนด้วยกัน ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางสุขภาพของอาเซียน โดยมีนักท่องเที่ยวเชิงการแพทย์มีสัดส่วน 38% ของภูมิภาค ด้วยตลาดมีแนวโน้มเติบโตราว 14% ต่อปี ประเทศไทยมีจำนวนโรงพยาบาลที่ได้รับมาตรฐาน JCI จำนวน 56 แห่ง (ปี 2560) ซึ่งมากเป็นอันดับ 4 ของโลก และโรงพยาบาลเอกชนของไทยติดอันดับ 1 ใน 10 สถานพยาบาลยอดเยี่ยมระดับโลกอย่างต่อเนื่อง ขณะที่ค่าใช้จ่ายในการให้บริการไม่สูงมากเมื่อเทียบกับประเทศยุโรป หรือสหรัฐอเมริกา หากพิจารณาเจาะจงในบริการด้านความงามและศัลยกรรมซึ่งเป็นสาขาที่มีสัดส่วนมากที่สุดในการท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ พบว่า ประเทศไทยมีชื่อเสียงด้านศัลยกรรม เป็นอันดับ 8 ของโลก ชาวต่างชาติที่เข้ามาใช้บริการส่วนใหญ่จะเป็นบริการด้านตรวจสุขภาพ ศัลยกรรมกระดูกและข้อ ผ่าตัดหัวใจ ศัลยกรรมความงาม แปลงเพศ และทันตกรรม Wellness and World peace center

    ตอบลบ

แสดงความคิดเห็น